บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก สิงหาคม, 2019

striker

รูปภาพ

Friendship

รูปภาพ
สมาชิก ม.6/10 รุ่น72 ปี2562 เลขที่ 1 นายคริษฉัตร จันทร์เทศ  (เต้อ) เลขที่ 2  นายทักษพร บุตรพรหม  (ตะปู) เลขที่ 3 นายเสฏฐวุฒิ ผิวเณร  (ไอซ์) เลขที่ 4 นายณัฏฐกิตติ์ สิริโชติแดงดี  (คิม) เลขที่ 5 นายสุทิวัส นามศักดิ์  (ดิว) เลขที่ 6 นายทศพร พุทธเษม  (ตูน) เลขที่ 7 นายวรชาติ สีเขียว  (เขียว) เลขที่ 8 นายกิตติธัช ศานติสุทธิกุล  (บาส) เลขที่ 9 นายทัพฟ้า อัมพวา  (ปอนด์) เลขที่ 10 นายล้อมพงศ์ แก้วศรีทอง (เอิท) เลขที่ 11 นายศุภกร พันธ์ชัย (บอส) เลขที่ 12 นายภูเมธ ชารีพร  (ก็อฟ) เลขที่ 13 นายพงศกร เพชรพันธ์  (โอ๊ค) เลขที่ 14 นายจิตติพัฒน์ ประสารวุธ  (เจฟ) เลขที่ 15 นายธันวา มาลา  (ธัน) เลขที่ 16 นายพิชัยยุทธ กลิ่นสน  (โอม) เลขที่ 17 นางสาวนภัสร สุขประเสริฐ  (ป็อป) เลขที่ 18 นางสาววรัญญา นกโนรี (เนม) เลขที่ 19 นางสาวศุภวัลย์ สุภาคง  (เฟื่อง) เลขที่ 20 นางสาวศิริญ

กาพย์สุรางคนางค์ 28

รูปภาพ
กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ นี้ ในหนึ่งบท มี ๒ บาท บาทแรกมี ๓ วรรค บาทที่สอง มี ๔ วรรค  วรรคหนึ่ง มี ๔ คำ รวมเป็น ๗ วรรค ในหนึ่งบท  ถ้านับคำได้เป็น ๒๘ คำ ด้วยเหตุนี้ จึงเรียก กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘             การสัมผัสนั้น มีหลักดังนี้ คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ คำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ สัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๕ และวรรคที่ ๖ คำสุดท้ายของวรรคที่ ๔ สัมผัสกับคำที่ ๒ ของวรรคที่ ๕  ส่วนการสัมผัสระหว่างบทนั้น คือ คำสุดท้ายของบทแรกไปสัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ ในบทถัดไป และถ้าแต่งไปอีกกี่บทก็ตาม ให้ถือหลักการสัมผัสอย่างนี้ไปจนจบเนื้อความตามต้องการ ดังแผนผังการสัมผัส ดังนี้ Want to add a caption to this image? Click the Settings icon. อ้างอิง : https://www.kroobannok.com/16412

กาพย์ฉบัง 16

รูปภาพ
ลักษณะคำประพันธ์        ๑. บท บทหนึ่งมี ๓ วรรค คือ           -วรรคแรก (วรรคสดับ) มี ๖ คำ           -วรรคที่สอง (วรรครับ) มี ๔ คำ           -วรรคที่ ๓ (วรรคส่ง) มี ๖ คำ           รวมทั้งหมด ๑๖ คำ จึงเรียกฉบัง ๑๖        ๒.สัมผัส           ๒.๑. สัมผัสนอก หรือสัมผัสระหว่างวรรค เป็นสัมผัสบังคับ คือ คำสุดท้ายของวรรคแรก(วรรคสดับ) สัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคสอง (วรรครับ)           ๒.๒. สัมผัสระหว่างบท คือ คำสุดท้ายของวรรคสาม (วรรคส่ง) สัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคหนึ่ง (วรรคสดับ) ของบทต่อไป       ๓.การอ่านกาพย์ฉบัง ๑๖          การอ่านกาพย์ฉบังจะเว้นจังหวะการอ่านทุก ๆ ๒ คำ ดังนี้                O O / O O / O O        O O / O O            O O /  O O / O O ตัวอย่างกาพย์ฉบับ ๑๖            สัตว์จำพวกหนึ่งสมญา         พหุบาทา       มีเท้าอเนกนับหลาย            เท้าเกินกว่าสี่โดยหมาย        สองพวกภิปราย       สัตว์น้ำสัตว์บกบอกตรง                                                 สัตวาภิธาน (สุนทรภู่) ข้อสังเกต : คำสุดท้ายของบทห้ามใช้คำตายหรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์ และนิยมใช้เสียงวรร

กาพย์ยานี11

รูปภาพ
กาพย์ยานี ได้ชื่อว่ายานี ๑๑ เพราะ จำนวนพยางค์ใน ๒ วรรค หรือ ๑ บรรทัด รวมได้ ๑๑ พยางค์ ๑ บท มี ๔ วรรค วรรคหน้า ๕ พยางค์ วรรคหลัง ๖พยางค์ สัมผัสระหว่างวรรค ใน ๑ บท มีสัมผัส ๒ คู่ สังเกตจากแผนผังและตัวอย่าง เพราะครูผู้นำ ทาง            ใช่เรือ จ้าง รับเงิน ตรา พุ่มพานจึงนำ มา              กราบบูชาพระคุณครู สัมผัสระหว่างบท พยางค์สุดท้ายของบทต้น สัมผัสกับพยางค์สุดท้ายของวรรคที่ ๒ของบทถัดไป ตัวอย่าง เพราะครูผู้นำทาง            ใช่เรือจ้างรับเงินตรา พุ่มพานจึงนำมา              กราบบูชาพระคุณ ครู หญ้าแพรกแทรกดอกไม้    พร้อมมาลัยอันงาม หรู เข็มดอกออกช่อชู            จากจิตหนูผู้รู้คุณ Want to add a caption to this image? Click the Settings icon. อ้างอิง : https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/30485/042963